วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557



บันทึกอนุทินครั้งที่ 6



บันทึกอนุทิน
วิชา  การจักประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยรหัสวิชา EAED 3207
Science Experiencces Management Early Childhood
อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์จินตนา  สุขสำราญ
วัน พฤหัสบดีที่ 25  กันยายน พ.ศ 2557
เวลาเรียน  08:30 - 12:20  น.

ความรู้ที่ได้รับ (Knowle)

            วันนี้อาจารย์ให้ทำกิจกรรมก่อนเรียนโดยมีกระดาษมาแจกให้กับนักศึกษาและได้ให้ทำกังหันลม โดยมีขั้นตอนการทำดังนี้

ชื่อกิจกรรม  กังหันกระดาษ (Turbine paper )
อุปกรณ์   1. กระดาษ (Rectangle  paper)
                2. คลิปหนีบกระดาษ (paper clip)
ขันตอนการทำ     1. ตัดกระดาษเป็นสี่เหลี่ยมผืนผ้าเล็กๆ
                            2. พับครึ่งกระดาษ
                            3. ตัดกระดาษจากปลายตรงกึ่งกลางเข้ามาจนถึงครึ่ง
                            4. พับชายกระดาษฝั่งตรงข้ามแล้วใช้คลิปหนีไว้
                            5. ตกแต่งให้สวยงาม




สิ่งที่ได้จากการทำกิจกรรม
-               การสังเกต ( observation )
-               การเกิดแรงโน้มถ่วง ( The gravity )
-               แรงต้านทาน( resistance )
-               การหมุน( rotation )
-               การทดลอง ( trials )

และกิจกรรมต่อไปคือให้เพื่อนๆออกมานำเสนอบทความ และหนูก็สรุปความรู้ที่ได้จากบทความ ดังนี้………….





อาจารย์ก็ให้นักศึกษาส่งการทำ mind  mapping และมีการพูดถึงแต่ละเรื่องที่นักศึกษาทำพร้อมให้ข้อเสนอแนะในการจัดหัวข้อการทำอย่างละเอียดและกลุ่มหนูก็ได้ หน่วยปลา

ผลงานเดิม




ผลงานใหม่ (แก้ไขเรียบร้อย)






เทคนิควิธีการสอน (Teaching Methods)
1.      เทคนิคการใช้คำถามปลายเปิด
2.      การใช้คำถามแบบให้นักศึกษาได้วิเคราะห์
3.      การทำสิ่งประดิษฐ์วิทยาศาสตร์มาประกอบการเรียนการสอน

การนำไปประยุกต์ใช้  (Applied)
        การเรียนในวันนี้ สามารถนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์กับเด็กโดยการให้เด็กทำสิ่งประดิษฐ์ที่ง่ายๆ เด็กสามารถทำได้เองให้เหมาะสมกับวัยและตามขั้นพัฒนาการของเด็กให้ครบทุกพัฒนาการ เด็กมีความสุขในการเรียนรู้เด็กเกิดความสนุกสนาน เพื่อเด็กจะได้เรียนรู้กับเพื่อนได้อย่างมีความสุข

การประเมินหลังเรียน (Assessment)
ตนเอง (Assessment Self): เข้าเรียนตรงเวลาแต่งกายถูกระเบียบมีความสนใจในการเรียนในกิจรรมที่อาจารย์ให้ ตอบโต้กับอาจารย์เมื่อให้ตอบคำถาม
เพื่อน(Assessment Friend) : เพื่อนทุกคนมีความตั้งใจเรียน มีการแสดงความคิดเห็นในการเรียนได้ดีมากทำให้การเรียนสนุกสนานและมีความรู้มากขึ้น
อาจารย์ (Assessment Teachers) : ครูใช้คำถามกระตุ้นนักศึกษาอยู่ตลอดเวลา มีเทคนิคการสอนที่หลากหลายและน่าสนใจมีการนำสิ่งประดิษฐ์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์มาเล่นกับเด็กทำให้มีความสนุกสนานในการเรียนมากยิ่งขึ้น











ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น